วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557

บ้านดงหลวง




























คณะผู้บริหาร





คณะผู้บริหาร

ตำบลดงหลวง






ชื่อ : ดาบตำรวจโชควิทย์ พรมดี
ตำแหน่ง : นายกเทศมนตรีตำบลดงหลวง

ชื่อ : นายเปิ้น วงค์กระโซ่
ตำแหน่ง : รองนายกเทศมนตรีตำบลดงหลวง



ชื่อ : นายเชยเนตร วงศ์กระโซ่
ตำแหน่ง : รองนายกเทศมนตรีตำบลดงหลวง


ชื่อ : นายจันทะลา วงค์แก้ว
ตำแหน่ง : ที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตำบลดงหลวง

ชื่อ : นายบรรชา ปักฤทัย
ตำแหน่ง : เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลดงหลวง



ชื่อ : นายสุน วงค์กระโซ่
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านโพนแดง 


ชื่อ : นายไชย โซ่เมืองแซะ
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านเปียด 


ชื่อ : นายสงวน วงค์กระโซ่ 
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านแสงสว่าง


ชื่อ : นายดอง โซ่เมืองแซะ
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหนองขอนแก่น


ชื่อ : นายบุญทา วงค์กระโซ่ 
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านใหม่


ชื่อ : นายไพโรจน์ วงค์กระโซ่ 


ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านเลื่อนเจริญ


ชื่อ : นายศิริพันธ์ วงค์กระโซ่ 
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านโสก


ชื่อ : นายสน วงค์กระโซ่ 


ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านหนองหมากสุก


ชื่อ : นายใจเย็น วงค์กระโซ่
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10 บ้านดงหลวง


ชื่อ : นายพรมมา วงค์กะโซ่ 


ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 11 บ้านไทยเจริญ


ชื่อ : นายอุสา ไชยเพชร 
ตำแหน่ง : ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 12 บ้านนางนวล




ชื่อ : นายสวัสดิ์ ไชยเพชร
ตำแหน่ง : หมอดินอาสาประจำตำบล








                                                   

ประวัติดงหลวง

บ้านดงหลวง

อำเภอดงหลวง   จังหวัดมุกดาหาร










ประวัติความเป็นมา
       ตำบลดงหลวง เป็นตำบลเก่าแก่ ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตเทือกเขาภูพาน ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2359 โดยชนเผ่าโซ่นี้อพยพมาจากแขวงคำม่วน และ แขวงสุวรรณเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชากรลาว โดยการนำของท้าวเพี้ยแก้ว นครอินทร์ ขยายอาณาบริเวณอยู่ในเขตอำเภอดงหลวง จนมาถึงปัจจุบันเป็นเวลาถึง 185 ปี ชนเผ่าโซ่นับถือศาสนาพุทธ และผีบ้าน ผีเรือน



สภาพทั่วไปของตำบล
          เป็นพื้นที่ลุ่มอยุ่ระหว่างภูเขาภูพาน เหมาะแก่การเพาะปลูก ดินอุดมสมบูรณ์ บริเวณที่ลุ่ม ห้อมล้อมไปด้วยป่าไม้ ร่มรื่นน่าอยู่ ชาวบ้านจึงขนานนามหมู่บ้านว่า "บ้านดงหลวง"


อาณาเขตตำบล
 ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ.นาแก จ.นครพนม
 ทิศใต้ ติดต่อกับ อ.คำชะอี และ อ.เมืองมุกดาหาร จ.มุกดาหาร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ.หว้านใหญ่ จ.มุกดาหาร และ อ.ธาตุพนม จ.นครพนม
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เทือกเขาภูพาน


จำนวนประชากรของตำบล
จำนวนประชากรในเขต อบต. 7,098 คน


ข้อมูลอาชีพของตำบล
อาชีพหลัก ทำนาทำสวนทำไร่    อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว์


ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล
1. วัดโพธิ์ศรี บ้านดงหลวง หมู่ที่ 3
2. ที่สาธรณะปู่ตา
3. วัดพ่อบุญมา
4. ภูถ้ำพระ
5. ภูนางนอนเปลือย
6. อ่างเก็บน้ำห้วยชะโนด
7. ห้วยขี้หมู







ภาษาในการสื่อสาร



ภาษาที่ใช้ในอำเภอดงหลวงของเรามีทั้งหมด  3   ภาษาดังนี้ครับ
1.ภาษาภูไท
       ภาษาภูไทยจะแบ่งออกเป็น  2 สำเนียงด้วยกันคือสำเนียงเหน่อ  และสำเนียงลาว
-ภาษาภูไทสำเนียงเหน่อ  เช่น
สิเล่อ       แปลว่า     ที่ใหน ที่ได
แม้นเผ๋อ   แปลว่า     อะไร มีอะไร
เอ็ดเผ๋อ   แปลว่า    ทำอะไร
แต้          แปลว่าเ       เตี้ย
แหน       แปลว่า       แขน
-ภาษาภูไทสำเนียงลาวจะมีสำเนียงเหมือนภาษาลาวนั่นแหละครับ

2.ภาษาโซ่
   ภาษาโซ่เป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีสำเนียงที่คล้ายกับภาษาเขมรครับ เช่น
กะมอย   แปลว่า      แฟนสาว
เจี๊ย         แปลว่า      กิน
มูทงาน     แปลว่า    ทำงาน
ไมค์           แปลว่า    เธอ
คึ           แปลว่า      ฉัน



 3.ภาษาลาว
   ได้รับอิทธิพลมาจากลาวดั้งเดิม   เช่น
แม่นหยัง  แปลว่า    อะไร
เห็ดหยัง    แปลว่า    ทำอะไร
อยู่ใส        แปลว่า     อยู่ใหน



สำนักงานเกษตร


สำนักงานเกษตรอำเภอดงหลวง



ที่ตั้งและอาณาเขต :   อำเภอดงหลวงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้
    
       ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอเต่างอย (จังหวัดสกลนคร) อำเภอนาแก และอำเภอธาตุพนม (จังหวัดนครพนม)
       ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอธาตุพนม (จังหวัดนครพนม) และอำเภอเมืองมุกดาหาร
       ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเมืองมุกดาหารและอำเภอคำชะอี
       ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเขาวงและอำเภอนาคู (จังหวัดกาฬสินธุ์)

        ในอดีตประมาณ 186 ปีก่อน ในสมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อประมาณปี พ.ศ.2359 ชาวกะโซ่กลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง บริเวณเมืองมหาชัย ในแขวงคำม่วน และเมืองอื่น ๆ ในแขวงสะหวันเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน ได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในภาคอีสานของประเทศไทย อยู่ที่บ้านดงหลวง โดยการนำของเพี้ยแก้ว นครอินทร์ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษผู้นำชาวกะโซ่ชาวกะโซ่ได้สำรวจและเห็นว่าเป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร แวดล้อมไปด้วยที่ราบลุ่มและเชิงเขา เหมาะสมในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เพื่อการดำรงชีพ จึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า "บ้านดงหลวง" และเป็นหัวหน้าชายไทยกะโซ่ ของบ้านดงหลวง ต่อมาได้เป็นกำนันตำบลดงหลวงคนแรก มีนามบรรดาศักดิ์ว่า "หลวงวาโนไพรพฤกษ์" ชาวกะโซ่ในท้องที่นี้ส่วนมากใช้นามสกุลเดียวกันว่า "วงค์กระโซ่" และ "โซ่เมืองแซะ"  ตำบลดงหลวง เดิมอยู่ในเขตการปกครองของเมืองมุกดาหาร เมื่อมีการจัดตั้งเป็นอำเภอและจังหวัดในปี พ.ศ.2450  จึงโอนไปขึ้นกับ  อำเภอนาแก  จ.นครพนม  ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2520 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอดงหลวง  ประกอบด้วย 3 ตำบล คือ ต.ดงหลวง  ต.หนองบัว และ ต.กกตูม ขึ้นกับ อ.นาแก จ.นครพนม โดยมี นายเกียรติคุณ สุวรรณกูล เป็น



         
                                                         

วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ลัษณะทางสังคมอำเภอดงหลวง


ลักษณะทางสังคม




ด้านการบริการการศึกษาในปัจจุบัน
    
      ตำบลดงหลวงมีการบริการด้านการศึกษาในระดับก่อนอนุบาล  ประถมศึกษาและโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  มีโรงเรียน มัธยมศึกษา  ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน  ( กศน. )  และวิทยาลัยชุมชน   อีกทั้งมีที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน  และหอกระจายข่าว
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดงหลวง  มี  4  แห่ง  คือ 
1.1  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงหลวง
      -  ผู้ดูแลเด็ก  
จำนวน
2
คน
ชาย
1
คน
หญิง 
1

คน
      -  นักเรียน 
จำนวน
65
คน
ชาย
35
คน
หญิง 
30

คน











1.2  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเปียด
      -  ผู้ดูแลเด็ก
จำนวน
2
คน
ชาย
-
คน
หญิง 
2

คน
      -  นักเรียน   
จำนวน
45
คน
ชาย
24
คน
หญิง 
21

คน











1.3  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านใหม่
      -  ผู้ดูแลเด็ก 
จำนวน
2
คน
ชาย
1
คน
หญิง 
1

คน
      -  นักเรียน
จำนวน
47
คน
ชาย
28
คน
หญิง 
19

คน











1.4  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนแดง
      -  ผู้ดูแลเด็ก
จำนวน
2
คน
ชาย
1
คน
หญิง 
1

คน
      -  นักเรียน  
จำนวน
45
คน
ชาย
21
คน
หญิง 
24

คน











1.5  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนางนวล
      -  ผู้ดูแลเด็ก
จำนวน
2
คน
ชาย
-
คน
หญิง 
1

คน
      -  นักเรียน  
จำนวน
42
คน
ชาย
21
คน
หญิง 
21

คน











2.  โรงเรียนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดงหลวง    มี    5    แห่ง  คือ
2.1  โรงเรียนบ้านดงหลวง  เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา
      -  ครู  
จำนวน
12
คน
ชาย
3
คน
หญิง 
9

คน
      -  นักเรียนระดับอนุบาล 1
จำนวน
30
คน







      -  นักเรียนระดับอนุบาล
จำนวน
43
คน







      -  นักเรียนประถมศึกษาปีที่  1- 6
จำนวน
165
คน
ชาย
89
คน
หญิง 
76

คน
      -  นักการภารโรง
จำนวน
1
คน


















2.2  โรงเรียนบ้านโพนแดง  เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา
      -  ครู  
จำนวน
11
คน
ชาย
5
คน
หญิง 
6

คน
      -  นักเรียนระดับอนุบาล 1
จำนวน
27
คน







      -  นักเรียนระดับอนุบาล
จำนวน
22
คน







      -  นักเรียนประถมศึกษาปีที่  1- 6
จำนวน
157
คน
ชาย
76
คน
หญิง 
81

คน
      -  นักการภารโรง
จำนวน
1
คน


















2.3  โรงเรียนบ้านเปียด  เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษา
      -  ครู  
จำนวน
8
คน
ชาย
3
คน
หญิง 
5

คน
      -  นักเรียนระดับอนุบาล 1
จำนวน
27
คน







      -  นักเรียนระดับอนุบาล
จำนวน
22
คน







      -  นักเรียนประถมศึกษาปีที่  1- 6
จำนวน
157
คน
ชาย
76
คน
หญิง 
81

คน
      -  นักการภารโรง
จำนวน
-
คน


















2.4  โรงเรียนบ้านโสก  เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษาและขยายโอกาสทางการศึกษา
      -  ครู  
จำนวน
15
คน
ชาย
7
คน
หญิง 
8

คน
      -  นักเรียนระดับอนุบาล 1
จำนวน
21
คน







      -  นักเรียนระดับอนุบาล
จำนวน
33
คน







      -  นักเรียนประถมศึกษาปีที่  1- 6
จำนวน
162
คน
ชาย
78
คน
หญิง 
84

คน
      -  นักการภารโรง
จำนวน
1
คน


















2.5  โรงเรียนดงหลวงวิทยา  เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา
      -  ครู  
จำนวน
30
คน
ชาย
15
คน
หญิง 
15

คน
      -  ครูอัตราจ้าง 
จำนวน
15
คน
ชาย
10
คน
หญิง 
5

คน
      -  นักเรียนประถมศึกษาปีที่  1- 6
จำนวน
1,119
คน
ชาย
484
คน
หญิง 
635

คน
      -  นักการภารโรง
จำนวน
2
คน


















3.  ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน    ( กศน. )
      -  ครู  
จำนวน
17
คน
ชาย
10
คน
หญิง 
7

คน
      -  นักเรียนระดับประถมศึกษา
จำนวน
378
คน
ชาย
89
คน
หญิง 
289

คน
      -  นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จำนวน
414
คน
ชาย
274
คน
หญิง 
140

คน
      -  นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จำนวน
515
คน
ชาย
318
คน
หญิง 
197

คน
      -  นักเรียนระดับวิชาชีพ
จำนวน
48
คน








4.  วิทยาลัยชุมชน 
       ให้บริการนักเรียนนักศึกษาในอำเภอดงหลวง  ในระดับอนุปริญญา
5.  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน    จำนวน      12      แห่ง
6.  หอกระจายข่าว                           จำนวน      12      แห่ง
ด้านสถาบันและองค์กรศาสนา 
     ประชากรทุกหมู่บ้านนับถือศาสนาพุทธ  กิจกรรมที่ประชาชนยึดถือเป็นประเพณีของท้องถิ่น  ได้แก่  การทำบุญมหาชาติ  บุญกฐิน  และบุญเข้าพรรษา  เป็นต้น
      -  วัด / สำนักสงฆ์                                     จำนวน      14      แห่ง

ด้านสาธารณสุข

โรงพยาบาลของรัฐ  ขนาด  30  เตียง 
จำนวน 
1
แห่ง

สาธารณสุขอำเภอ
จำนวน 
1
แห่ง

สำนักงานมาลาเลีย
จำนวน 
1
แห่ง

ร้านขายยาปัจจุบัน
จำนวน 
1
แห่ง

อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ
ร้อยละ   100





ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
    
       มีการฝึกอบรมประชาชนให้รู้จักเตรียมความพร้อมและรู้จักการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน  ซึ่งในแต่ละหมู่บ้านจะมีผู้ช่วย ผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบประจำหมู่บ้าน  คอยดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยประจำหมู่บ้าน  และยังมีสมาชิก  อปพร.  แต่ละหมู่บ้าน โดยผ่านการอบรม
      -  สถานีตำรวจ                      จำนวน     1       แห่ง
      -  กองร้อย  อส.อำเภอดงหลวงที่ 8      จำนวน     1       แห่ง
      -  สมาชิก  อปพร.                   จำนวน    108    คน